สุดยอดของพระสมเด็จพิมพ์พิเศษ ด้านหลังฝังพระทนต์ (ฟัน) ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน (
พระโคตมพุทธเจ้า)
มีพลังพุทธานุภาพไร้ขีดจำกัด (จากการสอบถามพระเบื้องบน)
ประสบการณ์
ของผู้ครอบครองคนปัจจุบัน ได้นำพระสมเด็จพิมพ์พิเศษ ด้านหลังฝังพระทนต์ องค์นี้อาราธนาติดตัวในอดีตที่ผ่านมา
ไม่มีพลังจิต ภูมิธรรมที่สูงเพียงพอในการอาราธนา ทำให้ผิวหนังบนข้อมือไหม้เป็นรูปพระทนต์
พระธาตุเขี้ยวแก้ว หรือ
พระทาฐธาตุ คือ
พระธาตุส่วนที่เป็น
เขี้ยวของ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งข้อมูลในคัมภีร์
พระไตรปิฏกใน
ลักขณสูตร ได้กล่าวถึง มหาบุรุษลักษณะ 32 ประการ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่า "
เขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์" ข้อมูลนี้จึงทำให้ทราบและเป็นที่ยืนยันว่า พระธาตุเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด 4 องค์
ซึ่งเป็นที่เชื่อกันว่าบนโลกมนุษย์ของเรานี้ มีพระเขี้ยวแก้วขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่ 2 องค์ นอกจากนี้ พระธาตุเขี้ยวแก้วยังจัดเป็น
พระบรมสารีริกธาตุที่ไม่แยกกระจัดกระจาย องค์มีลักษณะแข็งแกร่งรวมกันแน่น พุทธศาสนิกชนจึงมีความศรัทธาเลื่อมใสในองค์พระธาตุเขี้ยวแก้วเป็นอย่างมาก
ในรูปเป็น
พระทนต์ของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่
เขี้ยวพระทนต์ ผู้ที่หวังจะครอบครองย่อมหาไม่ได้ เพียงแค่เห็นภาพนับว่าเป็นบุญตา ยิ่งได้สัมผัสสุดจะกล่าวคำพูดใดๆ
ผู้เขียนกล่าวได้เพียงสั้นๆว่าของจิรงแท้แน่นอน นำรูปไปล้างอัดบนกระดาษเพื่อบูชานับได้ว่าเป็นศิริมงคลกับชีวิต
ความ
เก่าของผิวพระต้องดูให้ดี พระที่ใช้สมบุกสมบัน
เนื้อพระจะช้ำดูเก่ามากเหมือนคนชนบทดูแก่
ส่วนพระเก็บอย่างดีไม่ได้เอาออกมาใช้เนื้อจะเอี่ยมดูไม่เก่า
เหมือนคนในเมืองผู้ดีดูไม่แก่
พระสมเด็จถ้าเก็บไม่ถูกมือ ไม่ถูกแดด ไม่ถูกลม
ผิวพระจะออกมาขาวอมเหลือง
เนื้อจะหนึกแกร่งดูไม่หนึกนุ่มเหมือนของใหม่ของปลอม
แต่ให้รู้ไว้เถอะนั่นแหละของสวย
พระสมเด็จที่เอามาใช้ถูกมือจับห้อย ถูกเหงื่อ
หรือบางคนเอามาทาที่แก้มจะทำให้พระดูเก่าหนึกนุ่มกว่าพระเก็บไม่ได้ใช้
สีจะคล้ำออกสีน้ำตาลแก่เซียนบางคนว่าเนื้อจัด
161001
พระสมเด็จพิมพ์พิเศษฝังพระทนต์ พระพุทธเจ้า
คำจารึกด้านหลังองค์
พระสมเด็จพิมพ์พิเศษฝังพระทนต์
- ด้านบน " พระทนต์ "
- ด้านขวา " พระพุทธเจ้า "
- ด้านล่าง " 1 โต 1 " หมายถึง สร้างโดยสมเด็จโต พ.ศ.2411
- ด้านซ้าย......
ข้อมูลเพิ่มวันที่ 17 พฤศจิกายน 2555
สมัย
ร.3 โปรดให้คณะพระสงฆ์เป็นสมณฑูตไปลังกา
เพื่อบูชาพระทันตธานุและเจดีย์ฐานในลังกาทวี มีพระแก้วเดินทางไปด้วย 1 รูป
ดังเอกสารข้อความแนบ จากลิงก์ http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/002773.htm
เมื่อไปถึงได้กราบนมัสการ และผู้เขียนได้เข้าใจว่า
ในขณะนั้นเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ
เจ้าผู้ครองนครได้มอบพระทันตธาตุและพระธาตุฯลฯ
มากับคณะสงฆ์ที่ไปในครั้งนั้น
เพราะ
จากหลักฐานพระเครื่องของเจ้าประคุณสมเด็จโต พรหมรังสี วัดระฆัง
ได้มีการสร้างพระเครื่องพิมพ์พิเศษและจารึกว่าเป็นพระทนต์บ้าง พระธาตุบ้าง
พระบรมสารีริกธาตุบ้าง ล้่วนแล้วแต่อ้างอิงว่ามาจากลังกา
ประกอบกับหลักฐานทางเอกสารเชือมโยงมาตรงกันจึงเชื่อถือได้ว่ามาจากสถานที่
แหล่งเดียวกัน